ARTICLES

เราพูดถึงเรซิ่นกันอยู่ตลอดเวลาในการทำงานไฟเบอร์กลาส  หรือการทำงานหล่อตุ๊กตา งานเคลือบรูป เคยสงสัยบ้างไหมว่ามันคืออะไร แปลว่าอะไร

จำนวนชั้นของใยแก้วสำหรับงานประเภทต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตชิ้นงาน

ปัจจุบันการทำชิ้นงานรูปแบบต่างๆ ด้วยไฟเบอร์กลาสนั้นขยายวงกว้างไปมาก

ก่อนจะกล่าวถึงกระบวนการผลิตชิ้นงานที่เรียกว่า Infusion ที่ช่างบางคนเรียกว่าระบบแวค

จริงๆ แล้วแผ่นรังผี้งสามารถทำขึ้นมาได้จากวัสดุแทบทุกชนิดที่เป็นแผ่นแบน ในปัจจุบันเราจะแยกชนิด

ประวัติของการผลิตใยแก้วสาวย้อนไปได้ถึงปี ค.ศ. 1893 เมื่อนาย เอ็ดเวร์ด ดรามมอนด์ ได้แสดงใยแก้วที่เขาคิดค้น

การผลิต Chopped Strand Mat หรือ CSM ที่เราเรียกกันนั้นมีความซับซ้อนอยู่ไม่น้อย แม้จะดูเป็นกระบวนการที่เรียบง่าย

ด้วยคุณสมบัติ ที่มีความแข็งแรง ทนทาน ทำให้ไฟเบอร์กลาสได้รับความนิยมนำมาผลิตสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย

สารเพิ่มเนื้อเรซิ่น ถึงแม้แต่ละชนิดจะมีหน้าตา และ ลักษณะจะมีความคล้ายคลึงกันมาก แต่สารเติมเต็มแต่ละประเภทนั้นมีคุณสมบัติแตกต่างกัน รวมไปถึงราคา โดย Filler ที่เราจะนำเสนอในวันนี้มี 4 ประเภท ได้แก่ แป้งทัลคัม ผงแคลเซียม ผงเบา และ ผงไมโครบอลลูน

ลูกกลิ้งที่ในงานไฟเบอร์กลาสมีหลากหลายประเภท ซึ่งแตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน

โดยปกติแล้ว เรซิ่นนั้นจะมีอายุการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 1 เดือน โดยขึ้นกับปัจจัยดังต่อไปนี้ แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และ การผสมโคบอลต์ หรือตัวม่วง

Prepreg เป็นวัสดุคอมโพสิทชนิดหนึ่ง ซึ่งจะมีขั้นตอนการทำงานที่แตกต่างไปจากวิธี hand lay และ infusion โดย แต่ละวิธีนั้นก็มีข้อดี ข้อเสียต่างกันไป

กระบวนการขึ้นรูปไฟเบอร์ นอกจาก Hand lay up ยังมีอีกหลากหลายวิธี แต่ละวิธีนั้นก็มี ข้อดี ข้อเสียแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับประเภทชิ้นงาน และจำนวนการ

Gel Time และ Cure Time คืออะไร?? และ แตกต่างกันอย่างไร?? แล้วทำไมค่าทั้งสองค่านี้ถึงสำคัญกับคนทำงานไฟเบอร์

พียูโฟม (PU Foam) คืออะไร ใช้งานอย่างไร ใช้ทำงานอะไรได้บ้าง แล้วเป็นตัวเดียวกับที่เค้าเรียกว่าโฟมขาวโฟมดำไหม จะรู้ได้ยังไงว่าต้องใช้เท่าไหร่ดี??

3 ปัญหายอดฮิต ในการเริ่มต้นทำงานไฟเบอร์กลาส เจอแบบนี้ จะแก้ยังไงดี!!! เอาใจมือใหม่ หัดทำงานไฟเบอร์กลาส วันนี้เราได้คัดปัญหาทั่วไปที่พบเจอได้บ่อย พร้อมบอกวิธีแก้ไข มาให้เพื่อนๆ ได้อ่าน และทำความเข้าใจได้ง่าย ซึ่งปัญหาหลักๆในวันนี้ที่เราจะพูดถึงกันมี 3 ข้อ มีอะไรบ้างไปดูกันเลยยย!!

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้